แบบจำลองเชิงเส้นผสมจำนวนเต็มเพื่อการวางแผนการผลิตและการขนส่งในโซ่อุปทานส้มเขียวหวาน
Abstract
บทคัดย่อ
ปัญหาการจัดการโซ่อุปทานที่เกิดขึ้นกับส้มเขียวหวานเกี่ยวข้องกับปัญหาในด้านการเลือกยานพาหนะในการขนส่งส้มเขียวหวานจากสวนที่มีอยู่หลายรูปแบบให้เหมาะสม เพื่อให้มีต้นทุนการขนส่งที่ต่ำที่สุด และปัญหาอีกด้านหนึ่ง คือการวางแผนการผลิตภายในโรงงานคัดบรรจุส้มเขียวหวาน ให้สอดคล้องกับปริมาณส้มที่ขนส่งมาจากสวน เพื่อไม่ให้มีส้มคงค้างอยู่ในโกดัง ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น แบบจำลองเชิงเส้นผสมจำนวนเต็มจึงได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ โดยสร้างเป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้ในการวางแผนการเก็บเกี่ยว รวมถึงการเลือกใช้พาหนะในการขนส่งส้มให้สอดคล้องกับการผลิตในโรงงานคัดบรรจุเพื่อให้มีผลิตภัณฑ์ออกมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผลลัพธ์ที่เหมาะสมที่สุดแสดงให้เห็นว่าสามารถลดต้นทุนการขนส่งได้ 4.79% และสามารถลดตน้ ทนุ ภายในโรงงานได้ 0.52% เมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนก่อนการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ
ปัญหาการจัดการโซ่อุปทานที่เกิดขึ้นกับส้มเขียวหวานเกี่ยวข้องกับปัญหาในด้านการเลือกยานพาหนะในการขนส่งส้มเขียวหวานจากสวนที่มีอยู่หลายรูปแบบให้เหมาะสม เพื่อให้มีต้นทุนการขนส่งที่ต่ำที่สุด และปัญหาอีกด้านหนึ่ง คือการวางแผนการผลิตภายในโรงงานคัดบรรจุส้มเขียวหวาน ให้สอดคล้องกับปริมาณส้มที่ขนส่งมาจากสวน เพื่อไม่ให้มีส้มคงค้างอยู่ในโกดัง ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น แบบจำลองเชิงเส้นผสมจำนวนเต็มจึงได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ โดยสร้างเป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้ในการวางแผนการเก็บเกี่ยว รวมถึงการเลือกใช้พาหนะในการขนส่งส้มให้สอดคล้องกับการผลิตในโรงงานคัดบรรจุเพื่อให้มีผลิตภัณฑ์ออกมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผลลัพธ์ที่เหมาะสมที่สุดแสดงให้เห็นว่าสามารถลดต้นทุนการขนส่งได้ 4.79% และสามารถลดตน้ ทนุ ภายในโรงงานได้ 0.52% เมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนก่อนการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
คำสำคัญ: การวางแผนการผลิต การขนส่ง ส้มเขียวหวานแบบจำลองเชิงเส้นตรงผสมจำนวนเต็ม
Abstract
One problem of supply chain management of tangerines is selecting a suitable vehicle type from available choices to minimize transportation cost. The other is the production planning in packaging plant which suits the amount of transported tangerines from the harvested areas in order to reduce the tangerines stored in the warehouse. Therefore, to solve these problems, mixed integer linear programming was applied by creating a mathematical model for harvested planning, transportation of tangerines, and production planning in packaging plant for continuous production. The optimum results showed that the transportation cost could be reduced by 4.79% and the operation cost in the plant by 0.52% when compared to the normal operation before using the mathematical model.
Keywords: Production Planning, Transportation, Tangerine, Mixed-integer Linear Programming.
ISSN: 2985-2145