Page Header

The Development of Teacher Experience Model to Promote Competency of Education for Students near Southern Border Provinces

Ancharika Janjula, Theerapong Wiriyanon, Tugsina Kruehong

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมสมรรถนะของนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้  และ 2) ประเมินรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อส่งเสริมสมรรถนะ     ของนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู  ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 30 คน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อส่งเสริมสมรรถนะนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้ ดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษารูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู  เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการศึกษาแนวทางในการจัดประสบการวิชาชีพ ด้านการศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการประเมินสมรรถนะ และด้านการศึกษาความคิดเห็นจากคณะครุศาสตร์ ขั้นตอนที่ 2 การสร้างรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู  เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้ ในภาพรวมของรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู มีระดับคุณภาพเหมาะสมมากที่สุด (X ̅= 4.54, SD = 0.54) และภาพรวมความเหมาะสมของเว็บไซต์รูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมสมรรถนะของนักศึกษาครูอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด (X ̅= 4.49, SD = 0.63) ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อส่งเสริมสมรรถนะของนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้ และ 2) ผลการประเมินสมรรถนะนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้  โดยมีค่า (X ̅= 4.44, SD =0.65) ผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาวิชาชีพครูอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด (X ̅ = 4.63, SD = 0.60) และผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาวิชาชีพครูชายแดนภาคใต้ ภาพรวมของรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่า (X ̅= 4.74, SD = 0.54) ขั้นตอนที่ 4 การปรับปรุงและแก้ไขรูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู นำผลจากการทดลองมาแก้ไขปรับปรุง เพื่อให้รูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครูมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Keywords


<p class="a">การพัฒนารูปแบบ; สมรรถนะวิชาชีพครู; ชายแดนภาคใต้</p>

[1] Committee, Teacher Training Development, "Primary Teacher Education Project Bachelor's Degree (5-years course)," Office of the Secretary of the Ministry of Education, Bangkok, 2011.

[2] T. Kliewkamoltat, S. Phusri and D. Kritkanok, "The Characteristics Development Model for the 21st Century Teacher in Private Schools in Chaiyaphum Province," Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, vol. 6, no. 3, pp. 566-579, 2019.

[3] D. Boonkan, "The Need to Develop Teacher Competencies in the 21st Century in the Schools in the 3rd Co-Campus, Prayai Khueangnai, Under the Office of the Secondary Educational Service Area 29," Journal of Educational Innovation and Research, vol. 4, no. 3, pp. 345-357, 2020.

[4] N. Rampai and S. Sopeerak, "The Development Model of Knowledge Management via Web-Based Learning to Enhance Pre-Service Teacher's Competency," Turkish Online Journal of Educational Technology - TOJET, vol. 10, no. 3, pp. 249-254, 2011.

[5] S. Rochanasmita and V. Roadrangka, "A new dimension of professionnal teacher training experience," Journal of Educational Sciences, vol. 19, no. 2, pp. 1-9, 2004. (in Thai)

[6] S. Comesorn and S. Sermsuk, "Studying the Approach for Enhancing Teaching Practice in Educational Institute (an Internship) in Faculty of education, Pibulsongkram Rajabhat University," Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University, vol. 14, no. 2, pp. 489-504, 2020.

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ISSN: -