Factors Affecting Design of Liner Thickness for Landfill Waste
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมสเปรดชีตไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซลสำหรับออกแบบความหนาชั้นกันซึมประเภทดินเหนียวบดอัดชนิดที่มีความเป็นพลาสติกต่ำ (CL) ที่เหมาะสมสำหรับการป้องกันการซึมผ่านของสารละลายโลหะหนักประเภทตะกั่วในพื้นที่ฝังกลบขยะสู่แหล่งน้ำใต้ดินและแหล่งน้ำธรรมชาติ ความหนาที่ออกแบบจะสามารถระบุให้เหมาะสมกับอายุการใช้งาน 100 ปี และศึกษาเปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์ที่มีความเกี่ยวข้องกับการออกแบบความหนาของชั้นกันซึม ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของตัวกลาง (D) ที่แตกต่างกันในช่วง 5.00×10-6-1.00×10-8 ตารางเซนติเมตรต่อวินาที ค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่าน (k) ที่แตกต่างกันในช่วง 1.00×10-7-1.00×10-9 เซนติเมตรต่อวินาที ค่าความพรุนของดิน (n) ที่แตกต่างกันในช่วง 0.20–0.60 และค่าตัวประกอบความหน่วง (R) ที่แตกต่างกันในช่วง 35–140 ผลจากการศึกษาพบว่าดินเหนียวที่มีความหนาตั้งแต่ 17 เซนติเมตรขึ้นไป สามารถป้องกันการซึมผ่านของสารละลายโลหะหนักประเภทตะกั่วในพื้นที่ฝังกลบขยะสู่แหล่งน้ำใต้ดินและแหล่งน้ำธรรมชาติสำหรับอายุการใช้งาน 100 ปีได้ ค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของตัวกลางกับค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านจะแปรผันตรงกับการออกแบบค่าความหนาของชั้นกันซึม ซึ่งแตกต่างจากค่าตัวประกอบความหน่วงกับค่าความพรุนของดินจะแปรผกผันกับการออกแบบค่าความหนาของชั้นกันซึม นอกจากนี้ เมื่อมีการออกแบบความหนาชั้นกันซึมดินเหนียวบดอัด ตามมาตรฐานกรมควบคุมมลพิษ (2554) ที่ความหนา 60 เซนติเมตร จะสามารถป้องกันสารโลหะหนักประเภทตะกั่ว (Pb2+) สำหรับอายุการใช้งาน 1,080 ปี
Keywords
[1] Department of Pollution Control, "Thailand State of Pollution Report," Style Creative House Co.,Ltd., Bangkok Thailand, 2019. (in Thai)
[2] O. Phuphisut and S. Sangrajang, "Electronic waste and hazardous substances," Thai Journal of Toxicology, vol. 25, no. 1, pp. 67-76, 2010. (in Thai)
[3] Department of Disease Control, Guidelines for surveillance, prevention, control of disease and health hazards Professionals collecting, sorting, recycling waste and people living around the landfill, Saraburi, 2016.
[4] T. Kongkeaw and P. Maekum , "Some Factors Affecting on Adsorption of Lead and Cadmium Contaminated Water by Clays," Journal of Khon Kaen Agriculture, vol. 34, no. 1, pp. 47-54, 2006. (in Thai)
[5] World Health Organization, "Decontamination or Consolidation of Metal-Contaminated Soils by Biological Means," in Heavy Metals : Environmental Science, Springer, Berlin, Heidelberg, Springer, 1995, pp. 141-149.
[6] M. H. Gleason, D. E. Daniel and G. Eykholt, "Calcium and Sodium Bentonite for Hydraulic Containment Applications," Journal of Geotechnical and Geoenvironmental Engineering, vol. 123, no. 5, pp. 438-445, 1997.
[7] T.Chalermyanont, Compacted Sand Bentonite mixtures for hydralic containment liners, Songkhla: Prince of Songkla Universtity, 2005. (in Thai)
[8] C. D. Shackelford, "Critical Concept for Column Testing," Journal of Geotechnical Engineering, vol. 120, no. 10, pp. 1804-1828, 1994.
[9] United States Environment Protection Agency, "Subtitle D Study, Phase Report, EPA/50-Sw-86/054," vol. 116, U.S. Environmental Protection Agency, 1986.
[10] Department of Public Cleaning Bangkok, "Bangkok Solid Waste Information," 2003. [Online]. Available: http://203.155.220.217/ dopc/info/ShowYear.asp. [Accessed 10 July 2019]. (in Thai)
[11] T. Wichienkruea, Treatment of leachate from Udon Thani municipal landfill with polyferric sulfate, Khonkaen: Khonkaen University, 2001. (in Thai)
[12] P. Phromthet, "The efficiency of leachate removal by the anaerobic septic-filter system together with the sand pile," Khon Kaen University, 2002. (in Thai)
[13] Department of Pollution Control, 15 September 2000. [Online]. Available: http://infofile.pcd.go.th/law/3_16_water.pdf?CFID=1250288&CFTOKEN=38578678. [Accessed 5 August 2019]. (in Thai)
[14] P. Kerdchaiyaphum and L. Punrattanasin, "The Sorption Capacity of Heavy Metals by Mukdahan Soil in Laboratory," Engineering Journal of Research and Development, vol. 23, no. 2, pp. 21-27, 2012. (in Thai)
Refbacks
- There are currently no refbacks.
ISSN: -