Page Header

กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งเสริมความสำเร็จขององค์กร
Effective HRM strategies to Optimize Organizational Success

Manas Choopakar

Abstract


การสร้างกลยุทธ์เป็นสิ่งที่สำคัญในการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ บทความนี้ต้องการที่จะนำเสนอกลยุทธ์ที่ได้พัฒนาขึ้นมาจากผลการวิจัยซึ่งนำมาสู่การสร้างกลยุทธ์และแนวปฏิบัติในการดำเนินกลยุทธ์ที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จเพื่อเป็นการแบ่งปันความรู้อันจะเป็นประโยชน์ให้องค์กรทั้งภาคการผลิตและบริการใช้เป็นแนวทางให้พนักงานได้รับรู้การสนับสนุนจากองค์กรในการให้การดูแลในด้านการทำงาน ด้านครอบครัวและในด้านพฤติกรรมองค์กร ซึ่งพบว่าเป็นปัจจัยหลักในการนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร และยังสร้างเสริมความผูกพันของพนักงานได้อีกด้วย

Strategy creation is an important aspect of human resource management to drive the organization to achieve its goals and objectives. This article aims to present strategies developed from the organizational policy which was implemented through many projects. The project evaluation results of Bangsue Chia Meng Rice Mill Co., Ltd. showed satisfaction of the employees and can be applied to develop an HRM strategic plan and organization success guidelines. The main aim of this article is to be a mean for knowledge sharing to manufacturing and service sectors. Perceived organizational support in career development, family assistance and organizational behavior motivation were revealed to be critical components contributing to organizational success and enhanced employee commitment.


Keywords



[1] Martin, Julia. (2022, 14 July). New to Strategic Planning. Asansa .https://asana.com/resources/strategic-planning?utm_campaign=NB--APAC--EN--Catch-All--All-Device--

[2] Schermerhorn, John, R, James G. Hunt & Richard N. Osborn. (2003). Organizational Behavior. (8th ed). USA: John Wiley & Sons.

[3] ปัณฎารีย์ กิ่งวงศา (2563). การพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้บริหารทรัพยากรมนุษย์ในการเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจอุตสาหกรรม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

[4] Maslow, Abraham H. (1958). General Theory Human & Motivation. dit.dru. http://dit.dru.ac.th/home/023/Psychology/chap1-chap7.html1954:80-106.

[5] นันทนา จงดี. (2560). แรงจูงใจตามทฤษฎี ERG และความผูกพันองค์กรของพนักงานที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษา บริษัทผลิตรถเด็กเล่นแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. [ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

[6] Ivancevich, John M. and Michael T. Matteson. (2002). Organizational Behavior and Management. (6th ed). New York: McGraw- Hill Companies.

[7] กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2560). หลักการจัดการและองค์การ. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด.

[8] ศศินันท์ ทิพย์โอสถ. (2556). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรของพนักงานมีผลต่อการปฏิบัติงานในภาคธุรกิจธนาคาร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

[9] อารีรัตน์ บุญรัตน์ (2561). ปัจจัยส่วนบุคคลและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานบริการเที่ยวบินและผู้โดยสารภาคพื้น บริษัท แพนไทย แอร์ (กรุงเทพ) จำกัด. [สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

[10] ธัญญาทิพ พิชิตการค้า. (2558). การพัฒนารูปแบบการแบ่งปันความรู้ในอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 25[3], 475-483. https://doi.org/10.14416/j.kmutnb.2015.05.004

[11] นิธิภัทร ถาวรนารถ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยองค์กรที่ส่งเสริมความก้าวหน้าในงานและพฤติกรรมการทำงานของพนักงานวิศวกร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

[12] ธัญญรัศม์ เพ็ตตี้กรูว์. (2560). รูปแบบการจัดการความรู้สู่ทุนทางปัญญาในอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 28[1], 243-253. https://doi.org/ 10.14416/j.kmutnb.2018.01.004

[13] มนชนก ชูพรรคเจริญ. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของพนักงานเอกชนในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.

[14] เนาวรัตน์ เพชรพรหม. (2562). วัฒนธรรมองค์กรและคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี.

Full Text: PDF

DOI: 10.14416/j.bid.2022.11.007

Refbacks

  • There are currently no refbacks.