ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียต่อการจ้างผู้ตรวจสอบภายในจากบุคคลภายนอก
Stakeholders' Expectations towards Hiring Internal Auditors from Outsourcing
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียต่อการจ้างผู้ตรวจสอบภายในจากบุคคลภายนอก 2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีสัมพันธ์กับความคาดหวังในการจ้างผู้ตรวจสอบภายในจากบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ สมาชิกของสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก โดยใช้โปรแกรม G* Power 3.1.9.2 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียที่มีต่อการจ้างผู้ตรวจสอบภายในจากบุคคลภายนอก โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3 ลำดับแรก ได้แก่ ด้านการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในสอดคล้องกับกรอบการปฏิบัติงานวิชาชีพตรวจสอบภายในที่เป็นสากลของ IIA รองลงมาคือ ด้านพันธกิจ กลยุทธ์ และรูปแบบธุรกิจ และด้านการประสานงานกับหน่วยงานที่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานบริหารความเสี่ยง และงานตรวจสอบภายใน ตามลำดับ 2) การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความคาดหวังในการจ้างผู้ตรวจสอบภายในจากบุคคลภายนอก พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับความคาดหวังในการจ้างผู้ตรวจสอบภายในจากบุคคลภายนอก ได้แก่ ด้านพันธกิจ กลยุทธ์และรูปแบบธุรกิจ ด้านการประเมินความเชื่อมั่นเพื่อสร้างคุณค่า และด้านการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในสอดคล้องกับกรอบการปฏิบัติงานวิชาชีพตรวจสอบภายในที่เป็นสากลของ IIA อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
This research aimed to: 1) study the opinion level of stakeholders’ expectation towards hiring internal auditors from outsourcing; 2) study personal characteristics of stakeholders related to stakeholders’ expectation towards hiring internal auditors from outsourcing. The stakeholders were members of the Association of Internal Auditors of Thailand selected by convenient sampling using the program G* Power 3.1.9.2. The questionnaire was used as a tool to collect data. The collected data were analyzed by statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation, and Chi-square. The results found that: 1) Stakeholders’ expectation towards hiring internal auditors from outsourcing, overall, was at the high level. The first 3 aspects were: The internal audit performance in consistence with the IIA's international professional framework of internal auditing, followed by Mission, strategy and business model, and Coordination with the departments responsible for risk management and audit work of internal audit respectively. 2) The personal characteristics of stakeholders were related to stakeholders’ expectation in the following areas: Mission, strategy and business model, Belief assessment for value creation, and the internal audit performance in consistence with the IIA's International Professional Auditing Practice Framework at a significant level of 0.05
Keywords
[1] Birkett, W. P., Barbera, M. R., Leithhead, B. S., Lower, M., & Roebuck, P. J. (1999). Competency: Best Practices and Competent Practitioners. Altamonte Springs, Florida: Institute of Internal Auditors Research Foundation.
[2] Barac, K., & Motubatse, K. N. (2009). Internal Audit Outsourcing Practices in South Africa. African Journal of Business Management, 3(13), 969-979.
[3] Elmuti, D. (2003). The Perceived Impact of Outsourcing on Organizational Performance. Mid-American Journal of Business, 18, 33-41.
[4] Goodwin, J., & Yeo, T. Y. (2001). Two Factors Affecting Internal Audit Independence and Objectivity: Evidence from Singapore. International Journal of auditing, 5(2), 107-125.
[5] Rittenberg, L., & Covaleski, M. A. (2001). Internalization Versus Externalization of The Internal Audit Function: An Examination of Professional and Organizational Imperatives. Accounting, Organizations and Society, 26(7-8), 617-641.
[6] ไทยพับลิก้า. (2020, 5 พฤศจิกายน). “ประสาร ไตรรัตน์วรกุล” ชี้ Massive disruption “เมื่อปัญหาคนตัวเล็ก ที่ไม่เล็ก” จะสู้ให้รอดอย่างไร. Thaipublica. https://thaipublica.org/2020/11/massive-economic-disruption/
[7] สุรภา ไถ้บ้านกวย ประชา ตันเสนีย์ และอนุรักษ์ ไกรยุทธ. (2562). บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในจากบริษัทหรือบุคคลภายนอกยุคไร้พรมแดน. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2(2), 48-63
[8] Galanis, A., & Woodward, D. G. (2006). A Greek Perspective on The Decision to Outsource or Retain the Internal Audit Function. Journal of Applied Accounting Research, 8(1), 1-71.
[9] ชิษณุกร พรภาณุวิชญ์. (2540). ความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อบทบาทการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นของสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล : กรณีศึกษาจังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหิดล.
[10] Hornby, A. S., Ashby, M., & Wehmeier, S. (2000). Oxford Advanced Learner's Dictionary of Current English. Oxford: Oxford University Press.
[11] มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2540). ทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติในการบริหารการศึกษา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช.
[12] Freeman, R. B., & Medoff, J. L. (1984). What Do Unions Do. Indus. & Lab. Rel. Rev., 38, 244.
[13] Freeman, R. E. (2010). Strategic management: A stakeholder approach. Cambridge university press.
[14] The Institutes of Internal auditors. (2020). Voice of the Customer Stakeholders’ Messages for Internal Audit. institutes. https://institutes.theiia.org/sites/oman/resources/Documents/2016-July-CBOK-Voice-of-the-Customer.pdf
[15] สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. (2563). สมาชิกของสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. Theiiat. https://www.theiiat.or.th/Home/Main.
[16] Faul, F., Erdfelder, E., Buchner, A., & Lang, A. G. (2009). Statistical Power Analyses Using G* Power 3.1: Tests for Correlation and Regression Analyses. Behavior research methods, 41(4), 1149-1160.
[17] Hair, J. F., Celsi, M., Ortinau, D. J., & Bush, R. P. (2010). Essentials of Marketing Research (Vol. 2). McGraw-Hill/Irwin.
[18] พิรุฬน์ กิตติเดชปรีชา และปิยะนุช สุจินตารัตน์. (2564, 14 พฤษภาคม). ความเสี่ยงจากการใช้งานผู้ให้บริการภายนอก ‘Outsourcing’.bangkokbiznews .https://www.bangkokbiznews.com/news/937863
[19] Framework for Internal Auditing (CFIA). (1999). The Institute of Internal Auditors Research Foundation Three volumes.
DOI: 10.14416/j.bid.2022.03.005
Refbacks
- There are currently no refbacks.