การลดจำนวนข้อในแบบวัดโดยให้มีผลต่อผลการวัดน้อยที่สุด
Minimizing the Number of Clauses in Surveys while Maintaining the Least Impact on the Measurement Results
Abstract
การสร้างข้อคำถามในแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ มักจะมีคำถามว่าควรมีจานวนข้อคำถามเท่าไรจึงจะเพียงพอสาหรับการตอบคำถามวิจัยและครอบคลุมบริบทของปัญหาที่จะนำมาสู่การแก้ไขได้ ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายในการทำวิจัยเป็นอันดับแรก แต่ก็พบว่า การมีข้อคำถามที่มีจำนวนมากในแบบสอบถามอาจทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามเกิดความสับสนและเหนื่อยล้าในการตอบซึ่งนำไปสู่การตอบแบบสอบถามอย่างไม่ได้ใช้วิจารณญาณในทุกข้อคำถามซึ่งส่งผลต่อความ
คลาดเคลื่อนในการนาไปวิเคราะห์ข้อมูล วัตถุประสงค์ของบทความนี้ คือ 1) เพื่อแสดงผลการวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เมื่อข้อคำถามถูกลดจานวนลง 2) วิธีการเลือกตัดข้อคำถามด้วยการใช้ค่าอำนาจจำแนก ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์ของนักวิจัยที่พบแนวทางในการป้องกันปัญหาดังกล่าว และรักษาไว้ซึ่งประสิทธิภาพของการวัดผล
To create quantitative survey questions for quantitative research, there are questions of how many survey questions are required to be sufficient to answer the research questions while covering problem contexts and can lead to breakthrough solutions. This issue becomes the main objective research undertakings. However, excessive number of questions can bring about negative moods, confusion and fatigue among survey participants, leading to indiscriminate responses and discrepancies that affect data analysis. The purposes of this article are 1) to display the results of the query sentiment analysis when the number of questions has been reduced, and 2) to suggest the way to make opt-out decision using a classification power value. The attempt emerges from statistical analysis of researchers whose recommendations are provided to address the issues and to retain the efficiency of the measurement.
Keywords
[1] สุวิมล ติรกานันท์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 10). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[2] Crocker, L., and Algina, J. (1986). Introduction to classical and modern test theory. New York: Holt, Rinehart and Winston.
[3] Allen, M.J., & Yen, W. M. (2002). Introduction to Measurement Theory. Long Grove, IL: Waveland Press.
[4] สุวิมล ติรกานันท์. (2551). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[5] Murphy, M.R., and Davidshofer, C.O. (2001). Psychological testing: Principles and applications. (5th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
[6] วิเชียร เกตุสิงห์. (2538). ค่าเฉลี่ยและการแปลความหมาย. ข่าวสารวิจัยทางการศึกษา, 18 (3), 8 -11.
[7] Cohen, R.J., and Swerdlik, M.E. ( 2 0 0 5 ) . Psychological testing and assessment: An introduction to tests and measurement. (6th ed.). Boston: McGraw-Hill.
[8] Nunnally, J.C., and Bernstein, I.H. (1994). Psychometric theory. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
[9] นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2552). วิจัยและสถิติ : คำถามชวนตอบ. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัดไอคอนพริ้นติ้ง.
DOI: 10.14416/j.bid.2021.02.007
Refbacks
- There are currently no refbacks.