ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะของผู้ท าบัญชีในภาคอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการเข้าร่วมเศรษฐกิจอาเซียน The industrial bookkeeper’s performance indicators development to preparation for AEC

ณฐา เศวตนรากุล, ภัทรา เตชะธนเศรษฐ์

Abstract


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะของผู้ท าบัญชีในภาคอุตสาหกรรม (2) เพื่อ ตรวจสอบความสอดคล้องของแบบจ าลองตัวบ่งชี้สมรรถนะของผู้ท าบัญชีในภาคอุตสาหกรรมที่พัฒนาขึ้นตาม แนวคิดทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์  รูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน โดยการวิจัยเชิงคุณภาพได้ท าการ สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 ท่าน   เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้ท าบัญชีเพื่อรองรับการ เข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน   การวิจัยเชิงปริมาณ  ได้ท าการส ารวจ ผู้ท าบัญชีในภาคอุตสาหกรรม  จ านวน 186 ราย โดย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการประมวลข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอ้างอิง    ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 80.6  มีอายุระหว่าง 26 – 35 ปี ร้อยละ 67.8  จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 69.4 ประกอบวิชาชีพเป็น ผู้ท าบัญชีร้อยละ 46.8   และการพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะของผู้ท าบัญชีในภาคอุตสาหกรรม มีจ านวน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้  ด้านทักษะ  และด้านจรรยาบรรณ  โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความส าคัญอยู่ในระดับมากทุก ด้าน   ผลจากการตรวจสอบความสอดคล้อง เมื่อผ่านเกณฑ์การประเมินความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า มีค่าระดับความน่าจะเป็นของไคสแควร์ เท่ากับ .05   ค่าไคสแควร์สัมพัทธ์ เท่ากับ 1.03 ค่าดัชนีวัด ระดับความสอดคล้อง เท่ากับ .96 และค่าดัชนีรากของค่าเฉลี่ยก าลังสองของการประมาณค่าความคลาดเคลื่อน เท่ากับ .04

Keywords


การเตรียมความพร้อม,ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี,ประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย

  ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, (2556) รายงาน การศึกษาการพัฒนากรอบการก าหนดสมรรถนะ กลุ่มอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ สกศ 13/2557. ISBN 978-616-270-080-4 (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.onec.go.th/onec_backoffice/upl oads/Book/1390-file.pdf [2] สภาวิชาชีพบัญชี. (2554ข).   รายงานประจ าปี   2548-2549, 2549-2550,และ 2552-2553   (ออนไลน์). จาก   http://www.fap.or.th/annal.php  [3] นิสดารก์ เวชยานนท์, (2550). Competency   Model กับการประยุกต์ใช้ ในองค์การไทย.   กรุงเทพมหานคร: กราฟิโก ซิสเต็มส์. [4] อมรา ติรศรีวัฒน์, (2017) สารสนเทศที่ควรรู้เพื่อการ  เตรียมความพร้อม ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีไทย  เพื่อรองรับตลาด AEC. วารสารวิชาชีพบัญชี   JAP,13,5. [5] พงศ์ศิรภพ ทองดีรวิสุรเกตุ, (2555). สมรรถนะของ  นักวิชาชีพบัญชี : มุมมองของผู้บริหารงานสายบัญชี ในเขตการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. คณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, กรุงเทพฯ. [6] พรพรรณ ทิพย์ธาตุภักดิ์และคณะ, (2556).   ผลกระทบของความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีที่มีต่อ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีภาษีอากร ในประเทศไทย.วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 5(3), 105-118 [7] ประทีบ วจีทองรัตนา, (2558). ประสิทธิภาพการ  เรียนรู้ที่มีต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้ท า  บัญชีในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารสมาคมนักวิจัย,   20(1). 85-94    [8] บุญรวย นะเป๋า, (2556). สมรรถนะตามหลัก  มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศส าหรับส ารับผู้  ประกอบวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพในการ  ท างาน : กรณีศึกษา นักบัญชีธุรกิจ SMEs ในจังหวัด  นนทบุรี. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ. สมาคม สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท). 2(2), 1-9 [9]  รัชนีกร จันทิมี และฐิติรัตน์ มีมาก. (2559).   [ออนไลน์]. จรรยาบรรณของนักบัญชีที่ส่งผลต่อประ  สิทธิภาพการท างานของนักบัญชีที่ปฏิบัติงานใน  ส านักงานบัญชี ในเขตอ าเภอเมืองจังหวัด  นครราชสีมา.[สืบค้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560].  สืบค้นจาก  https://gsbooks.gs.kku.ac.th/59/ingrc2016/pd f/HMP8.pdf

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI