ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

ความต้องการเทคโนโลยีในการเลี้ยงปลาดุกบกิ๊อุยตามมาตรฐาน GAP ของเกษตรกรในจังหวัดนครนายก The Need for Technology in Hybrid Catfish Farming, by GAP of Farmers in Nakhon Nayok Province

อัจฉราภรณ์ คุรุรักษา, ธานินทร์ คงศิลา, พิชัย ทองดีเลิศ

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ของเกษตรกร 2) เพื่อศึกษาความต้องการเทคโนโลยีในการเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยตามมาตรฐาน GAP และ 3) เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม กับความต้องการ เทคโนโลยีในการเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยตามมาตรฐาน GAP กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เกษตรกรผู้เลี้ยง ปลาดุกบิ๊กอุยในจังหวัดนครนายก จ านวน 191 ราย เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 47 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีจ านวนแรงงานเฉลี่ย 2 คน พื้นที่ในการ เลี้ยงเฉลี่ย 8 ไร่ เป็นพื้นที่ของตัวเอง และใช้เงินทุนของตัวเอง 2) ความต้องการเทคโนโลยีในการเลี้ยงปลา ดุกบิ๊กอุยตามมาตรฐาน GAP อยู่ในระดับปานกลาง 3) เพศของเกษตรกรมีความสัมพันธ์กับความต้องการ เทคโนโลยีการเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยตามมาตรฐาน GAP ในด้านการเก็บเกี่ยวและการขนส่ง ส่วนอายุ ระดับ การศึกษา จ านวนแรงงาน ไม่มีความสัมพันธ์กัน

Keywords


ความต้องการเทคโนโลยี ปลาดุกบิ๊กอุย มาตราฐาน GAP จังหวัดนครนายก

  พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์.(2560). [ออนไลน์].       แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ Good Agriculture          Practices ( GAP).       [สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2560]. จาก         http://www.foodnetworksolution.com/        wiki/expert/002/  [2]  กรมประมง.(2558). [ออนไลน์]. GPAสัตว์น้ า.       [สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2560]. จาก       http://gap.doae.go.th   [3]  ส านักงานกรมประมงจังหวัดนครนายก. (2560).        ข้อมูลพื้นฐานด้านประมงจังหวัดนครนายก.        นครนายก [4]  ธานินทร์ คงศิลา. (2560). การมีส่วนร่วมของเกษตรกร          ในการใช้น้ าชลประทาน โครงการพัฒนาลุ่มน้ าก่ าอัน        เนื่องมาจากพระราชด าริในพื้นที่ จังหวัดสกลนครและ       จังหวัดนครพนม. วารสารการอาชีวะและเทคนิค ศึกษา.        ปีที่ 7 ฉบับที่ 14 กรกฎาคม – ธันวาคม 2560

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI