ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใชเ้ทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตรของเกษตรกรชาวสวนยาง Factors affecting the use of information technology to agriculture of rubber farmers

มนัสชนก บุญอุทัย, ธานินทร์ คงศิลา, พิชัย ทองดีเลิศ

Abstract


วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) เพื่อศึกษา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตร 3) เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตร 4) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ กลุ่ม ตัวอย่าง คือ เกษตรกรผู้ปลูกยางพารา ในอ าเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จ านวน 387 คน เครื่องมือที่ ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t – test และ ANOVA พบว่า เกษตรกรไม่ได้เป็นกลุ่มสมาชิกกลุ่มยางพารา หน่วยงานที่ส่งเสริมการปลูกยางพาราคือ การยาง แห่งประเทศไทย การรับข่าวสารสื่อบุคคลผ่านเพื่อนเกษตรกร การรับข่าวสารสื่อมวลชนผ่าน Facebook สื่อ เฉพาะกิจเกษตรกรเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับยางพารา และไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้งานมากที่สุดคือ สมาร์ทโฟน ช่วงเวลาที่ใช้งานอุปกรณ์สารสนเทศมากที่สุดคือ เวลา 18.01 – 21.00 น.  ใช้งาน 7 วันต่อสัปดาห์ ใช้ช่องทางการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับยางพาราผ่านทางเว็บไซต์ เกษตรกรมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตรเฉลี่ยโดยรวมใช้งานระดับน้อย ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การเข้าฝึกอบรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และอุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้งานบ่อยที่สุด โดยรวมเฉลี่ย แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Keywords


เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตร ยางพารา

ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2559). [ออนไลน์].       สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี2559. [สืบค้นเมื่อ       วันที่ 8 พฤษภาคม 2560]. จาก       http://organic.dit.go.th.  [2] วรากร สอนนุ้ย. (2560). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ      การบริหารจัดการสวนยางพารา. ปริญญาวิทยาศาสตร      มหาบัณฑิต. สาขาส่งเสริมการเกษตร. ภาควิชาส่งเสริมและ       นิเทศศาสตร์เกษตร. คณะเกษตร. มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร.์ [3] จิระ จิตสุภา. (2556). ความมั่นคงปลอดภัยทาง      เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา. วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา, ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 หน้า 34 - 42. [4] การยางแห่งประเทศไทย. (2560). พื้นที่ปลูกยางพารา และจ านวนเกษตรกรผู้ปลูกยางพารา ในจังหวัด สุราษฎร์ธานี. (22 ตุลาคม 2560) สืบค้นจาก แหล่งข้อมูล: http://www.raot.co.th. [5] สุรินทร์ นิยมางกูร. (2556). ระเบียบวิธีวิจัยทาง สังคมศาสตร์และสถิติที่ใช้. กรุงเทพมหานคร : บุ๊คส์ ทู ยู. [6] พันธ์ศักดิ์ แสนพรมมา. (2557). การยอมรับ เทคโนโลยีการปลูกยางพาราของเกษตรกรในอ าเภอ 

ปง จังหวัดพะเยา. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาทรัพยากรชนบท, มหาวิทยาลัยแม่โจ้. [7] ศศิธร แก้วมั่น. (2560). แนวทางการน าเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเสริมสร้างคุณภาพ ชีวิตกลุ่มสตรีชุมชนบ้านท่าขอนยาง. วารสารการ บริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 หน้า162 – 172. [8] ส านักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). แนวโน้มคนไทยใช้ สมาร์ทโฟนมากขึ้น. (13 มิถุนายน 2560) สืบค้นจาก แหล่งข้อมูล: http://www.raot.co.th.

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI