ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

การพัฒนาเครื่องทับกล้วยแบบมีส่วนร่วมของอุตสาหกรรมกล้วยแปรรูป Development of Banana Compressed Machine in Collaborative Industry of Banana Processed Food

กันต์ อินทุวงศ์

Abstract


การพัฒนาคุณค่านวัตกรรมเครื่องทับกล้วยแบบมีส่วนร่วมของอุตสาหกรรมกล้วยแปรรูปการนา
เทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เหมาะสมและยังสามารถพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องทับกล้วยซึ่ง
มีประสิทธิภาพในการทางานแทนแรงงานคนประหยัดเวลาการทางานโดยการออกแบบและสร้างเครื่อง
ทับกล้วยมีขนาดความกว้าง 45 เซนติเมตร ความยาว 50 เซนติเมตร ความสูง 113.70 เซนติเมตร โดยใช้
มอเตอร์ 1/4 แรงม้า เป็นตัวต้นกาลังในการขับเคลื่อนผลการทดลองจากการทดสอบหาเวลาและขนาดความ
หนาของของกล้วยจากเครื่องทับกล้วยโดยเปรียบเทียบระหว่างการทับด้วยเครื่องทับกล้วยและการทับด้วยแรง
คนได้ผลดังนี้ กล้วยที่ผ่านการทับด้วยเครื่องจะใช้เวลาเร็วกว่าและมีขนาดความหนาตรงตามที่ตั้งไว้ คือไม่เกิน
8 มิลลิเมตร ทาการทับ 4 ครั้ง จานวนครั้งละ 10 ลูก ทั้งหมด 40 ลูก ทับด้วยเครื่องทับกล้วย มีความเร็วเฉลี่ย
1 ผล ใช้เวลาเท่ากับ 12.4 วินาที ความหนาอยู่ที่ 7.95 มิลลิเมตร และจากการทดสอบการทับกล้วยด้วยแรงคน
มีค่าเฉลี่ยแล้ว 1 ผล ใช้เวลาเท่ากับ 13.77 วินาที มีความหนา 7.92 มิลลิเมตร ซึ่งการทับได้ดีกว่าการทับด้วย
แรงคนทับ ถึงแม้เวลาและขนาดความหนาจะไม่ต่างกันมากนัก แต่เมื่อใดก็ตามที่มีการทับเป็นเวลานาน การทับ
ด้วยแรงงานคนก็จะมีประสิทธิภาพลดลงไม่สม่าเสมอ และขนาดความหนาไม่แน่นอน เพราะความเหนื่อยล้า
แต่เครื่องทับกล้วยสามารถทางานได้ตลอดและสม่าเสมอ ซึ่งได้นาเทคโนโลยีไปจัดโครงการการถ่ายทอด
เทคโนโลยีโดยมีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ เท่ากับ 52.72 เปอร์เซ็นต์เมื่อพิจารณาในภาพรวมในรายละเอียด
ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจของการดาเนินโครงการวิจัยอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย ( X = 4.27,SD = 0.52)
แสดงว่าผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาเครื่องทับกล้วย มีความรู้ ความเข้าใจ เรียนรู้เพิ่มมากขึ้นกว่า
ก่อนเข้ารับการอบรมในระดับค่อนข้างมาก


Keywords


เครื่องทับกล้วย, ถ่ายทอดเทคโนโลยี, การมีส่วนร่วม

[1] Michael E. Porter (1985) Porter, M. E. (1985).
Competitive strategy: Techniques for
analyzing industries and competitors.
New York: Free Press.
[2] กันต์ อินทุวงศ์. (2554). การถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่อง
อัดรีดแผ่นใบตองแบบมีส่วนร่วมของชุมชน โดยจัด
โครงการ KM : ภาคปฏิบัติชุมชน. วารสาร วิจัยเพื่อการ
พัฒนาเชิงพื้นที่ Area Based Development
Research Journal. สานักงานกองทุนสนับสนุน
งานวิจัย. (สกว.) ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 พฤศจิกายน-ธันวาคม
2554
[3] ศักดิ์ชัย ยอดมีกลิ่น. (2553) การจัดการเทคโนโลยีการ
แบกล้วยตากระดับชุมชน.วารสารคุณภาพชีวิตกับ
กฎหมาย ปีที่ : 6 ฉบับที่ : 2 เลขหน้า : 190-198
[4] สุทัศน์ ศิริ, อภิชาต เมฆบังวันและคณะ. (2547).
รายงานผลการวิจัย : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การผลิตสุกรแบบครบวงจร. เชียงใหม่ : สานักวิจัยและ
ส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
[5] วรางคณา จันทร์เลิศ. (2544). ทัศนคติของพนักงานที่มี
ต่อระบบ HACCP: กรณีศึกษาบริษัทลานนา
อุตสาหกรรม จากัด. เชียงใหม่: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
[6] นาชัย ทนุผล และคณะ. (2545). การถ่ายทอด
เทคโนโลยีการจัดการการเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และวัฒนธรรมที่ยั่งยืนแก่
เกษตรกร จังหวัดแพร่. เชียงใหม่ : สานักวิจัยและ
ส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
[7] เนตินา โพธิ์ประสระ. (2541). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมี
ส่วนร่วมและความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน:ศึกษา
เฉพาะ กรณี บริษัทสิทธิผล. 1919 กรุงเทพฯ : บัณฑิต
วิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI